ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศศิลักษณ์ ขยันกิจ
ประธานสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ระดับการศึกษา:
– ค.ด. (การศึกษาปฐมวัย) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
– ค.ม. (การศึกษาปฐมวัย) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
– วท.บ. (วิทยาศาสตร์ทางภาพถ่ายและเทคโนโลยีทางการพิมพ์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ความเชี่ยวชาญพิเศษ:
– การศึกษาปฐมวัย การให้ความรู้ผู้ปกครอง การศึกษาพิเศษ ดนตรีและการแสดงสำหรับเด็ก การประเมินพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย
ผลงานวิชาการ:
บทความวิชาการ
– บุษบง ตันติวงศ์ และ ศศิลักษณ์ ขยันกิจ. 2551. สุนทรียะสำหรับเด็กปฐมวัย. วารสารครุศาสตร์ 36, 1: 70 – 85.
– มานิตา ลีโทชวลิต และศศิลักษณ์ ขยันกิจ. 2552. การรู้แบบผุดเกิด: ประสบการณ์เรียนรู้ของนิสิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย. ใน ศูนย์จิตตปัญญาศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล. จิตตปัญญาศึกษา: ทางเลือกหรือทางรอดของสังคม. 281 – 298. นครปฐม: ศูนย์จิตตปัญญาศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล.
– ศศิลักษณ์ ขยันกิจ. 2551. การศึกษาบำบัดกับการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลงของครู. วารสาร
ศึกษาศาสตร์ปริทัศน์ 23,1: 17-28.
– ศศิลักษณ์ ขยันกิจ และ อัญชนา สุนทรพิทักษ์. 2551. การพัฒนาภายในตนของนิสิตครูปฐมวัยผ่านสุนทรียะทางศิลปะ. วารสารครุรำไพ 1, 1: 61 -72.
– ศศิลักษณ์ ขยันกิจ. 2551. การเรียนร่วม: การศึกษาบำบัดสำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ. ใน สมพงษ์ จิตระดับ และอัญญมณี บุญซื่อ, หลักสูตรสิทธิเด็กและการวางแผนท้องถิ่นเพื่อเด็กและเยาวชน พุทธศักราช 2551, 234 – 241. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมการศึกษาเพื่อเด็กและผู้มีความต้องการพิเศษ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
– ศศิลักษณ์ ขยันกิจ. 2558. จิตตปัญญาศึกษา. ใน บังอร เสรีรัตน์, ชาริณี ตรีวรัญญู, และเรวณี ชัยเชาวรัตน์ (บรรณาธิการ), 9 วิถีสร้างครูสู่ศิษย์ เอกสารประมวลแนวคิดและแนวทางพัฒนาวิชาชีพครูสำหรับคณะทำงาน. กรุงเทพมหานคร: โครงการพัฒนาระบบกลไกและแนวทางการหนุนเสริมชุมชน การเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อพัฒนาผู้เรียน.
หนังสือ
– ศศิลักษณ์ ขยันกิจ และบุษบง ตันติวงศ์. 2559. การประเมินอย่างใคร่ครวญต่อเด็กปฐมวัย: แนวคิดและการปฏิบัติเพื่อสนับสนุนการเรียนรู้. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ตำรา
– ศศิลักษณ์ ขยันกิจ. 2553. หน่วยที่ 8 ตอนที่ 8.2 แนวทางการออกแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย. ใน ประมวลสาระชุดวิชาสัมมนาหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ระดับปฐมวัยศึกษา หน่วยที่ 6 – 10 (หน้า 8-16 – 8-31). นนทบุรี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
– ศศิลักษณ์ ขยันกิจ และ สมโภชน์ เอี่ยมสุภาษิต. หน่วยที่ 8 การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย. ใน ประมวลสาระชุดวิชา หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา หน่วยที่ 8-11 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1). (หน้า 8-1 – 8-63). นนทบุรี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
– ศศิลักษณ์ ขยันกิจ และบุษบง ตันติวงศ์. 2554. โมดูล 9 การประเมินพัฒนาการและการเรียนรู้. ในโครงการยกระดับคุณภาพครูทั้งระบบตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และศูนย์เครือข่ายทั่วประเทศ. คู่มือฝึกอบรมครูปฐมวัย. 359-394. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
– ศศิลักษณ์ ขยันกิจ. 2554. โมดูล 5 การประเมินพัฒนาการและการเรียนรู้. ใน โครงการยกระดับคุณภาพครูทั้งระบบตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และศูนย์เครือข่ายทั่วประเทศ. คู่มือฝึกอบรมครูปฐมวัย. 173-220. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
– ศศิลักษณ์ ขยันกิจ. 2555. โมดูล 6 การประเมินเด็กปฐมวัยตามสภาพจริง. ใน โครงการพัฒนาครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ สังคมศึกษา การศึกษาปฐมวัย การศึกษาพิเศษ บรรณารักษ์ และแนะแนว สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ 2555 คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และศูนย์เครือข่ายทั่วประเทศ. คู่มือฝึกอบรมครูปฐมวัย. 225-285. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
บทความวิจัย
– ศศิลักษณ์ ขยันกิจ. 2549. การพัฒนากระบวนการให้การศึกษาสำหรับผู้ปกครองของเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ โดยใช้แนวคิดทางการศึกษาบำบัดและการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลง. วารสารครุศาสตร์ 352, 2:15 – 29.
– ศศิลักษณ์ ขยันกิจ. 2551. ศิลปะเพื่อการพัฒนาภายในตน: การศึกษาเชิงคุณภาพประสบการณ์การเรียนรู้ของนิสิตสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย. วารสารครุศาสตร์ 36,1:45 – 60.
– ศศิลักษณ์ ขยันกิจ. 2554. การจัดการเรียนการสอนในรายวิชาการศึกษาสำหรับเด็กพิเศษตามแนวจิตตปัญญาศึกษา. วารสารครุศาสตร์ 38, 3: 48 – 61.
– ศศิลักษณ์ ขยันกิจ. 2555. กระบวนการนำแนวคิดจิตตปัญญาศึกษามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนและประสบการณ์เรียนรู้ของนิสิตวิชาการวัดผลและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย. วารสารครุศาสตร์ 39, 2: 26 – 34.
– Khayankij, S. 2012. The implementation of contemplative education in the assessment and evaluation of young children course. Asia-Pacific Journal of Research in Early Childhood Education, 6:2(July): 85-99.
– Khayankij, S. 2015. Contemplative observation as a tool for self-reflection enhancement of early childhood graduate students. Journal of Education Studies, 43:3 (July – September 2015): 23-37.
ผลงานวิจัย
– ศศิลักษณ์ ขยันกิจ. 2551. ศิลปะเพื่อการพัฒนาภายในตน: การศึกษาเชิงคุณภาพประสบการณ์การเรียนรู้ของนิสิตสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย. แหล่งทุนกองทุนรัชดาภิเษกสมโภชน์. (75 หน้า)
– ศศิลักษณ์ ขยันกิจ. 2553. กระบวนการนำแนวคิดจิตตปัญญาศึกษามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนและประสบการณ์เรียนรู้ของนิสิตวิชาการวัดผลและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย. แหล่งทุนกองทุนคณะครุศาสตร์ ปี 2552. (72 หน้า)
– ศศิลักษณ์ ขยันกิจ. 2558. การใช้มันดาลาเพื่อเสริมสร้างการตระหนักรู้ในตนเองของนิสิตชั้นปีที่ 4 สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย. ทุนอุดหนุนการทำวิจัยในชั้นเรียน. (42 หน้า).
– ศศิลักษณ์ ขยันกิจ. 2559. การใช้วิธีการสังเกตอย่างใคร่ครวญเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการไตร่ตรองตนเองของนิสิตสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย. แหล่งทุนกองทุนคณะครุศาสตร์ ปี 2556. (53 หน้า)
– ศศิลักษณ์ ขยันกิจ. 2559. การสอนตามแนวจิตตปัญญาเพื่อเสริมสร้างการตระหนักรู้ด้านสุนทรียประสบการณ์ของนิสิตชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย. ทุนอุดการทำวิจัยในชั้นเรียน. (53 หน้า)
รายงานการวิจัยที่นำเสนอในที่ประชุมนานาชาติ
– Sasilak Khayankij. 2008. Art for Inner Development: A Qualitative Study of Early Childhood Student Teachers’ Learning Experiences. Paper presented at Pacific Early Childhood Education Research Association, 9th Annual Conference “Educating Young Children in Knowledge-Based Economy” July 7-9, 2008 at the Faculty of Education, Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand.
– Sasilak Khayankij. 2010. Process of Contemplative Education in Instruction and Students’ Learning Experiences in the Assessment and Evaluation of Young Children. Paper presented at Pacific Early Childhood Education Research Association, 11th Annual Conference “Early Childhood Education in a Changing World” July 25-27, 2010 at Hangzhou, China.
– Sasilak Khayankij. 2013. Contemplative Observation as a Tool for Self-reflection Enhancement. Paper presented at Pacific Early Childhood Education Research Association, 14th Annual Conference “Empowering Children’s Empathy via Early Childhood Education” July 4-6, 2013 at Seoul, Korea.
– Sasilak Khayankij. 2016. Mandalas as a Tool to Enhance Self-awareness for Early Childhood Student Teachers. Paper presented at Pacific Early Childhood Education Research Association, 17th Annual Conference “Empowering Children’s Empathy via Early Childhood Education” July 7-9, 2016 at
Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand.
รายงานการวิจัยที่นำเสนอในการประชุมวิชาการในประเทศ
– ศศิลักษณ์ ขยันกิจ. 2553. “จิตตปัญญาศึกษา” ในการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาการศึกษาสำหรับเด็กพิเศษ. นำเสนอในการประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวิจัยระดับชาติ เรื่องการขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษาไทยเนื่องในโอกาสวันคล้ายวันสถาปนาคณะครุศาสตร์ และเฉลิมฉลองศตพรรษวัฒนาท่านผู้หญิงพูนทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา, 9 กรกฎาคม 2553 ณ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.